Threadsนี้อยากพูดถึงThe Central pillars หรือ Pillarizationค่ะ เป็นความเข้าใจตามที่เราเรียนมาและตกผลึกเองหากผิดพลาดประการใดช่วยแนะนำได้นะคะหากท่านใดจะเสริมความรู้ก็ยินดีค่ะ อยากเสนอแนะแล้วก็บ่นบ้างตามสถานการณ์หากมีคำไหนกระทบกระเทียบกันต้องขออภัยนะคะ
หลายท่านอยากล้มเสาหลักหลายท่านแบกขึ้นบ่าหลายท่านเหนื่อยหน่าย ส่วนดิฉันเองบางครั้งอยากหยิบดาบมาใล่ฟันความน่ารำคาญต่างๆบางทีอยากปล่อยให้มันเป็นไปmood swing เกริ่นมาไม่มีอะไรค่ะแค่อยากให้ทุกท่านวางอัตตาลงกับสิ่งที่เห็นอยู่อย่าถือดีต่อกันเราคนไทยด้วยกันเสมอ
ขอเกริ่นถึงจุดเริ่มต้นPillarizationเล็กน้อยนะคะเชื่อว่าทุกท่านมีอินเตอร์เน็ตมากพอที่จะค้นหาอ่านถ้าการเมืองดีทุกคนจะขวนขวายความรู้ได้ไม่หูเบาฟังเขามาแล้วเชื่อเป็นตุเป็นตะเชื่อง่ายควายไม่สูญพันธุ์แล้วปีนี้ข้าวคงงามผลผลิตดีจนปีหน้าทีเดียวค่ะ
Pillarizationเกิดขึ้นในประเทศเนเธอร์แลนด์และเบลเยี่ยมในช่วงศตวรรษที่19 จริงๆแล้วเสาหลักส่วนตัวเราถือเป็นธรรมชาติของมนุษย์ค่ะ เหมือนหัวหน้าเผ่าอย่างนั้นมีวัฒนธรรมในกลุ่มแตกต่างกันไปนำมาซึ่งการยึดถือเป็นsymbolically ยกตัวอย่างเสาหลักของสองที่นี้
เพราะมีความคล้ายคลึงกันค่ะProtestant,Catholic,Social-democratic [ขออธิบายตรงนี้สักนิดบางท่านเห็นคำว่าประชาธิปไตยไม่ได้มักจะตีความอย่างรวดเร็วว่ามันประเสริฐแสงออกตามันคือsocialismค่ะในทีนี้อ่านเป็นtypeนึงก็พอ;แต่ละเสามีอิทธิพลต่างกันค่ะ]
สองที่นี้Catholic pillarมีอำนาจสูงสุดค่ะตรงนี้ไม่ขออธิบายเยอะสั้นๆคือยุคนั้นศาสนามีสาวกเยอะเกี่ยวข้องกับการเมืองโดยตรง เสริมนิดนึงว่ามีกลุ่มAtheistในยุคนั้นซึ่งมีทั้งmiddle,upper-classตั้งตนเป็นกลุ่มliberalแต่มีอำนาจน้อยกว่ามาก
ตรงนี้เป็นpersonal opinion นะคะเราขอแทนbasic meaningของPillarization มาสามอย่างคือ Accountability,Belief,Loyalty ไม่จำเป็นต้องมีสามเสาเท่านั้นนะคะแต่นี่เป็นbaseของการก่อร่างเสาหลัก แต่ล่ะที่มีวัฒนธรรมอุดมการณ์ต่างกันเสาหลักก็จะมีสมญานามต่างกันไป
ในวิกิหรือความหมายทั่วไปของPillarization คือthe politico-denominational segregation of a society เกิดจากศาสนาและอุดมการณ์ทางการเมืองแต่ส่วนตัวเราไม่ตีความในลักษณะของนิกายตรงตัวขนาดนี้ค่ะถึงแม้บางเสาจะเป็นนิกายทางศาสนาก็ตาม
Pillarization ตั้งขึ้นมาได้ด้วยขบวนการหรือกลุ่มในสังคมที่ประสบความสำเร็จในการระดมพลประชากรส่วนใหญ่ในสังคมให้คล้อยตามได้ส่วนตัวเราชอบประโยคนี้มากพูดได้เห็นภาพ”thoroughly knitting it together “ แบบนี้ถึงล้มยากล้มเย็นนะคะ...ถ้าจะล้มก็ต้องเข้าใจรากการตั้งตัวก่อน
ไม่งั้นจะเหมือนหมาติดสัตว์วิ่งตรงมากอดขาแล้วเขย่าอย่างเมามัน...ไม่ได้อะไรนะคะไม่ถูกเป้าหมาย💁🏻‍♀️ เพราะกว่าจะรวมตัวได้ต้องผ่านร้อนผ่านหนาวมีความศรัทธาร่วมกันคือimpenetrable และ powerful ทั้งสองคำนี้ถ้าเราไม่เชื่อไม่ชอบมันจะnegative เข้าไม่ถึง
แต่เรื่องแบบนี้เป็นเรื่องของการณ์เวลาค่ะnothing can last forever แต่เสาหลักmaybe can ค่ะแต่ก็จะdecline เป็นธรรมดาให้เสาอื่นมีบทบาทเข้มกว่าเปลี่ยนบทบาทลงไปชอบปฏิวัติฝรั่งเศสกันอาจจะแย้งว่าก็เจ้าตายหมดแล้วคาดาบฉันเลยตัวน่ะตายแต่right-wingที่เปลี่ยนตัวแสดง
บินผงาดทั่วท้องฟ้าของไพร่ฟ้าฝรั่งเศสมาตลอดม็อบเสื้อกั๊กมันฟ้องค่ะ...he had it comin’(😏)(ก่อนที่จะจิกหัวตบกันตายห่าเราไปเข้าเรื่องกันต่อนะคะ)ขออนุญาตเสริมว่าถ้าปล่อยให้มันเป็นไปตามกลไกมันจะเปลี่ยนสถานะเองอัตโนมัติตรงนี้ขึ้นอยู่กับการกระทำตามหน้าที่เป็นสำคัญ
ถ้าฝืนให้คงทนเหมือนเดิมโดยที่เปลี่ยนตัวแสดงไปแล้วเหมือนลืมถุงแกงไว้ในช่องฟรีสก็จะมีบางกลุ่มที่แบ่งบานตามยุคสมัยขึ้นมาประจั่นหน้าเป็นเรื่องปกติค่ะ(ว่าไงจ้ะพลแบก...)(อิวงเล็บข้างหน้ายังคงกัดไม่เข้าเรื่องสักทีนะคะ...ด่าดิฉันอิสัสในใจได้ค่ะ)
Accountability: เราขอยกความหมายของประชาชนในทางการเมืองขึ้นมาสักนิดนะคะPeople is a plurality of persons considered as a whole, ethnic group,nation or the public of polity ทุกที่มีแต่แกรนด์และทุกที่ก็มีframework ด้วยนะคะเห็นม็อบในขณะนี้
เรียกร้องการแก้รัฐธรรมนูญ ยกเลิกสถาบันกษัตริย์ เรียกร้องpresidentialไม่มีอะไรคล้องจองเลยค่ะ คือจะทุบเสาไม่เอาเสาออกทางAnarchist แต่จะเอาระบอบใหม่แค่ออกทางsingle party ทวิตตรงนี้ขอแนะนำให้นอนพักผ่อนให้เพียงพอแล้วกันนะคะ
ความรับผิดชอบในทางสังคมการเมืองนี้ยกตัวอย่างการที่เราเลือกนักการเมืองมาแล้วเขามีอำนาจนิติบัญญัติค่ะ ถามว่าประชาชนรับผิดชอบอะไร(ถามบ่อยมากยอมรับว่างงค่ะพุธโธ่จะไม่รับหน้าที่อะไรเลยเป็นผักตบประจำประเทศฉันจะฟูฟ่องในทุกคลองแต่หามีประโยชน์ไม่)
ประชาชนมีหน้าที่ทำตามกฎหมายที่นักการเมืองทูนหัวของเราถูกเลือกเข้าไปทำหน้าที่นิติบัญญัติค่ะที่สำคัญคือbystander ดูคนดีของเราว่าเขาทำได้อย่างปากพูดมั้ย บางประเทศพรรคการเมืองถือเป็นเสาหลักค่ะเพราะพรรคการเมืองถือเป็นความรับผิดชอบร่วมกันนะคะ
การรวมตัวกันเป็นตัวแทนกลุ่มอิทธิพลในสังคมนี่แหละค่ะเช่นพรรคแรงงานแน่นอนมาจากกลุ่มแรงงาน เขาเป็นตัวแทนของเรานั่นล่ะถึงเป็นความรับผิดชอบในการแก้ปัญหาขับเคลื่อนชาติร่วมกันaccountability:national เพราะชาติคือพวกเราที่ขับเคลื่อนร่วมกันผ่านmechanism:election
Belief:คือความเชื่อทางศาสนาค่ะ เชื่อในหินและใบไม้แห้งถ้ารวมตัวกันมีสาวกมากพอจูงใจคนส่วนใหญ่ก็ถูกผลักดันเป็นเสาหลักได้นะคะ ทุกที่มีความเชื่อค่ะFaithคือสิ่งที่ผูกเราไว้ด้วยกันค่ะศาสนาทุกศาสนามีหลักคำสอนที่เชื่อมโยงกับการวางตัวในสังคมค่ะ
Loyalty: หลายท่านตั้งคำถามเราภักดีกับอะไรไปทำไมตรงนี้ขอกล่าวถึงเสาแห่งความภักดีที่ค้ำจุนชาติเหมือนเสาอื่นๆก่อนนะคะ ความภักดีในที่นี้ไม่ได้หมายถึงmonarchy อย่างเดียวประเทศที่ไม่มีกษัตริย์เขาก็ภักดีในความเป็นชาตินิยมของเขาค่ะการสร้างชาติมีบรรพบุรุษ
สืบต่อกันมาแน่นอนคุณไม่ใช่หน่อไม้ผุดขึ้นมาเพราะฝนตกถึงไม่มีโคตรเหง้าศักราช เราrespect ต่อกันมาถ้าไม่นับถือตัวเองเอาแต่นับถือคำเชิญชวนของคนอื่นมันไม่ยั่งยืนหรอกค่ะสุดท้ายเราไม่มีแก่นยึดสังคมที่ดีเริ่มที่ตัวเราค่ะตั้งใจเรียนทำงานสุขภาพดี
มันไม่ซับซ้อนค่ะ(โครงสร้างบิดเบี้ยวติดต่อศักดิ์สิทธ์อัลลอยนะคะ)ความรับผิดชอบต่อสังคม-ความเชื่อ-มันนำมาสู่ความจงรักภักดีค่ะ แต่ในบ้านเรามีเสาพระมหากษัตริย์ใช่มั้ยคะเราขอยกตัวอย่างเล็กๆค่ะแต่มันยิ่งใหญ่ในใจเรามากเจ้าของเราร่วมรบเป็นตายกับเรามา
Colonialism เขาก็ทำเต็มที่เพื่อรักษาแผ่นดินนี้ไว้ไม่ได้ปอดทิ้งบัลลังก์ไปเสียก็ได้ซึ่งเจ้าบ้านอื่นเขามีทำนะแต่เราไม่ว่ากันทุกคนรักชีวิตไม่พูดเยอะเพราะทำเยอะมันยั่งยืน...แผ่นดินนี้ไม่เหมือนเดิมแล้วเราเข้าใจเสาสถาบันพระมหากษัตริย์สั่นคลอน
เสาหลักที่ทุกคนรุมปกป้องหนักหนาเพราะมันสัมพันธ์กับสังคมค่ะอเมริกาก็มีเสาหลักก็คือประธานาธิบดี ปัจจุบันนี้จากนกอินทรีเป็นนกแต้วแร้วแต่กลไกความมั่นคงก็ยังต้องปกป้องเขานั่นต้องรอเลือกตั้งแต่ปัญหาเราตอนนี้ถ้าคุยกันเรามั่นใจว่าผ่านไปได้ค่ะ🙏🏼🇹🇭
You can follow @KATELYNisViolet.
Tip: mention @twtextapp on a Twitter thread with the keyword “unroll” to get a link to it.

Latest Threads Unrolled: